Git Product home page Git Product logo

squid's Introduction

[Morchana - หมอชนะ aka ThaiAlert]

Build Status

Getting Started

First follow this instruction to setup react-native https://reactnative.dev/docs/getting-started

Create .env file by rename from .env.dev

iOS

  1. Clone git clone https://github.com/codeforpublic/SQUID.git
  2. Install Dependencies cd SQUID && yarn && (cd ios; pod install)
  3. Start yarn ios

Android

  1. Clone git clone https://github.com/codeforpublic/SQUID.git
  2. Install Dependencies cd SQUID && yarn
  3. Start npx react-native run-android

App Flow

https://www.figma.com/file/lZx75oXlD92cikgSNNXvor/%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%89-Covid-19?node-id=5%3A366

App Flow

squid's People

Contributors

bazsup avatar champyevil avatar dtinth avatar guutong avatar ikaew avatar jdl-odds avatar lifnaja avatar mameaw14 avatar n3tr avatar nuttapol-k avatar nuuneoi avatar papermonster avatar people29 avatar pepewitch avatar pichayaj avatar pondpiu avatar ranatchai avatar supasintatiyanupanwong avatar thunderbird7 avatar wa-int avatar wiput1999 avatar

Stargazers

 avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar

Watchers

 avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar  avatar

squid's Issues

Update repo to match the version in app stores

The source code of this repo is older than the current version on app stores. It would be nice to keep them synced to ensure transparency, less misunderstandings, and ease of community contribution.

Texts regarding location tracking should be removed from devices without GMS

Since location tracking does not work without GMS, texts regarding matching user's location with COVID-19 patients' are not true. Location permission request (and perhaps motion permission too) should also be skipped until the app actually has this feature.
device-2021-01-19-140759 device-2021-01-19-140821
(Screenshots taken from version 2.0.3 AppGallery version)

App Store Submission

Video Demo Flow

  1. Verify OTP แล้วสีต้องเปลี่ยน
  2. หากยังไม่ verify OTP ให้ยิง Noti มาให้
  3. กรณีเข้าพื้นที่เสี่ยงให้ มี notify อีกรอบ พร้อมเปลี่ยนสี
  4. กรณีเสี่ยงมากๆ (สีแดง) หลังจาก noti สักพักนึง จะมีคนโทรจากโรงพยาบาลมาหา
  5. คำแนะนำประจำวันให้แต่ละคน
  6. Scan code

How

แยกเป็น 6 คลิป ตาม stage แล้วเขียน อธิบายเพิ่มเติมใน note

  1. แก้ server ให้เปลี่ยนเป็นสีเหลือง หากยังไม่ OTP
  2. ทำ local not เพื่อ demo โดยเฉพาะ
  3. ทำ local noti แล้วแก้ฝั่ง server
  4. เหมือน 3 แล้วให้คนรูัจักที่เราเปลี่ยนชื่อแล้วในโทรศัพท์ โทรมาหา
  5. เหมือน 3
  6. สร้าง QR แต่ละสี ทิ้งไว้ แล้ว scan ให้ดู

สร้าง Repo สำหรับ Open source ที่ codeforpublic และเปลี่ยน CI ตัวนี้ให้เป็นจ่าพิชิต

Open source

  • สร้าง repo ใหม่ที่ codeforpublic
  • ย้าย code ที่ clean สำหรับ open source แล้วไป

จ่าพิชิต

  • Logo ใหม่ ตามจุดต่างๆ
  • Loading Screen ใหม่
  • Artwork และ screenshot สำหรับขึ้น app store
  • ทำ video demo ใหม่ ?

รองรับ offline check-in

อยากให้หมอชนะรองรับการเช็กอินไทยชนะแบบออฟไลน์ โดยเก็บข้อมูลการเช็กอินไว้ในเครื่อง รออัปโหลดอัตโนมัติเมื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นการลดภาระค่าเน็ตสำหรับประชาชนในการให้ความร่วมมือควบคุมโรค

สำหรับตัวผมเอง ผมใช้โทรศัพท์เชื่อมต่อเน็ตผ่าน Wi-Fi เท่านั้น และสถานที่เช็กอินส่วนใหญ่ไม่มี free Wi-Fi จึงแทบไม่เคยเช็กอินไทยชนะที่ไหนเลย

การแจ้งข้อมูลที่จัดเก็บ ในข้อตกลงการใช้งาน อาจไม่ตรงกับที่เก็บจริง

ปัจจุบันไม่ชัดเจนว่าข้อมูลที่จัดเก็บจริงจากตัวแอป กับข้อมูลที่แจ้งว่าจะเก็บในข้อตกลงการใช้งาน นั้นตรงกันหรือไม่
ทำให้เกิดความสงสัยไม่แน่ใจ สับสน หรือกังวลไปมากกว่าข้อเท็จจริง

ตัวอย่างเช่น การจัดเก็บหมายเลขโทรศัพท์

ถ้าทำให้ชัดเจนได้ ก็น่าจะคลายความสับสนไปได้ครับ

ความเหมาะสมของตัวเลือกในคำถามประเมินตนเอง ข้อที่ 2, 3, 4 ต่อมุมองเรื่องคนต่างชาติ หรือคนที่มาจากต่างประเทศ

ข้อ 2

คุณได้เดินทางไปต่างประเทศในช่วง 14 วันก่อนหรือไม่ ?

  1. ประเทศที่เดินทางไปมา ก็น่าจะเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงด้วย ไม่ใช่ว่าทุกประเทศจะเสี่ยงเท่ากัน
  2. แต่ตรงนี้ต้องอาศัยการปรับปรุงข้อมูลความเสี่ยงอย่าสม่ำเสมอ ซึ่งถ้าไม่สามารถดูแลได้ ก็เข้าใจได้ครับ ตีไปว่าเหมือนๆ กันหมด ก็พอใช้การได้
  3. อาจจะกำกับด้วยว่า ได้ผ่านการกักดูโรคและตรวจหาเชื้อแล้วหรือยัง
  4. สำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ช่วงปลายมีนาคม 2563 เป็นต้นมา หลังเข้าประเทศได้ จะต้องผ่านการกักดูโรคอยู่แล้ว ดังนั้นสำหรับบุคคลทั่วไป คำถามนี้อาจจะไม่ได้มีประโยชน์นัก (คือยังไงก็น่าจะต้องตอบ "ไม่" อยู่แล้ว เพราะการกักดูโรคปัจจุบัน ให้กัก 15 คืน)
  5. แต่อาจจะยังคงถามไว้ได้ เนื่องจากมีบางกลุ่มอาชีพที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องรับการกักดูโรค (ซึ่งถ้าถามเป็นกลุ่มอาชีพไปเลย อาจจะตรงประเด็นกว่า?)

ข้อ 3

  1. ตัวเลือก มีบุคคลในบ้านเดินทางไปต่างประเทศ ถ้าหมายถึงว่า มีคนในบ้าน เดินทางออกจากบ้าน ไปต่างประเทศ ก็ไม่น่าจะนับเป็นความเสี่ยงไหมครับ
  2. อันที่เป็นความเสี่ยงน่าจะเป็น มีบุคคลในบ้านเดินทางกลับมาจากต่างประเทศ มากกว่าหรือเปล่าครับ
  3. อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันนี้ การเดินทางกลับมาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะกรณีทางเครื่องบิน ก็จะต้องกักตัวในสถานที่ที่รัฐกำหนดอยู่แล้ว (ไม่ว่าจะเป็นที่รัฐออกค่าใช้จ่ายให้ หรือที่ผู้เดินทางออกค่าใช้จ่ายเอง) เป็นเวลา 15 คืน เลยไม่แน่ใจว่าตัวเลือกนี้จะยังจำเป็นอยู่หรือมีน้ำหนักมากน้อยแค่ไหน
  4. ตัวเลือกนี้อาจจะจำเป็น สำหรับคนที่อยู่ร่วมบ้านกับคนที่อยู่ในกลุ่มอาชีพที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องกักดูโรค (ดู (5) ในประเด็นสำหรับ ข้อ 2 ด้านบน)

ข้อ 4

คุณได้ประกอบอาชีพที่ใกล้ชิดกับชาวต่างชาติหรือไม่

  1. ประเด็นคล้ายๆ กันกับข้อ 2 และ 3 คือ ไม่ว่าคนสัญชาติใดก็ตามที่อยู่ประเทศไทยขณะนี้ โดยหลักการแล้ว หากเดินทามาจากที่อื่น ก็ควรจะผ่านการกักดูโรค 15 คืนและการตรวจหาเชื้อมาแล้ว ที่ไม่ได้เดินทางมาจากไหน อาศัยอยู่ที่ไทยในช่วงนี้ ไม่ว่าจะมีสัญชาติอะไร ถ้าอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ก็น่าจะมีความเสี่ยงเท่ากัน คำถามนี้เลยไม่น่าจะใช้ได้กับกรณีของบุคคลทั่วไปไหมครับ
  2. กรณีที่จะใช้ได้ (ถามไปแล้วน่าจะเป็นประโยชน์) น่าจะเป็นกรณีของบุคคลที่มีโอกาสสัมผัสกับบุคคลที่ยังไม่ผ่านการกักดูโรค เป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ เช่น พนักงานสายการบิน คนเรือ คนทำงานที่ท่าเรือ ท่าอากาศ ด่านตรวจคนเข้าเมือง คนทำงานตรวจโรค คนทำงานโรงแรมที่เป็นที่กักดูโรค

ข้อเสนอ

จากประเด็นใน ข้อ 2, 3, 4 เลยคิดว่า คำถามในลักษณะการถามถึงที่มา (จากต่างประเทศหรือไม่) และสัญชาติ (เป็นชาวต่างชาติหรือไม่) ไม่น่าจะเป็นคำถามที่เป็นประโยชน์ในการประเมินสำหรับบุคคลทั่วไปที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยในสภาพกฎระเบียบปัจจุบันครับ

อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงอันเนื่องจากการพาโรคมาจากการเดินทาง (ไม่ว่าจะทิศทางใด เข้าและออก) ก็มีอยู่จริง แต่น่าจะปรับให้เป็นลักษณะกลุ่มอาชีพ น่าจะตรงไปตรงมามากกว่า นอกจากนี้ยังไม่ไปส่งเสริมมุมมองที่มองว่าคนต่างชาติเป็นผู้นำโรคเข้ามาด้วย (เพราะตัวเชื้อเองก็ไม่ได้เลือกติดเฉพาะคนชาติใด)

  • ตัวอย่างจากแบบประเมินของโรงพยาบาลราชวิถี https://covid19.rajavithi.go.th/test/th_index.php
    • ท่านทำงานใน สถานกักกันโรค (state quanratine หรือ local quanrantine) ใช่/ไม่ใช่
    • เป็นบุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข ทั้งสถานพยาบาล, คลินิค , ทีมสอบสวนโรค หรือ ร้านขายยา ใช่/ไม่ใช่

สำหรับคำถามที่เกี่ยวกับการเดินทาง ลักษณะสถานที่ที่ที่เคยเดินทางไป และกลุ่มจังหวัด น่าจะมีประโยชน์สำหรับสถานการณ์ขณะนี้เช่นกันครับ

Add production .env file to prevent data fragmentation

For the software to be free, users should be able to compile and run the application from the source code by themselves instead of using the version distributed in the app store.

However, right now if a user does this, the app will talk to the development API server (https://api.dev.thaialert.com). If I understand correctly, that would most likely mean contract tracing will be uneffective for people who run the app from source — and this is my main concern.

So, should a production env file be added to this project? (IMO, it is public information anyways, since they can be easily extracted from the Play Store APK file.) If not, then what would be the best way to address the above concern?

เพิ่ม Form Quiz ใน App

Update 3 April

image (13)


2 April

  • นำ Quiz จาก LINE มา apply ใน app โดยยึก quiz ตามใน LINE และ renderer ดึงมาจาก squid ได้
  • พอทำ onboard สำเร็จให้เด้ง form ขึ้นมากรอกเลย
  • save ข้อมูลกลับขึ้นไป โดยใช้ api updateUserData
  • step ถัดไป นอกจาก หลัง onboard แล้ว จะให้ quiz ขึ้นมาถาม user ทุกวัน/สัปดาห์ เพื่อเช็ค status ของคนใช้
  • data structure เก็บแบบ สามารถดู quiz ครั้งเก่าๆ ได้ด้วย

Ref

ระบบรองรับ Beacon หรือยังครับ ?

ช่อง Youtube อาจารย์ลอยได้พูดถึงการใช้ Beacon ไว้
(https://www.youtube.com/post/Ugx-a-Lv7RWQ-ILPteJ4AaABCQ?ocd=1)

ถ้าสนใจอยากทดลองทำ Beacon ไว้ติดตี้งในสถานประกอบการ จะศึกษาได้จากไหน
สามารถดัดแปลงจาก ESP32 แบบของไลน์ได้หรือไม่ ?

(https://medium.com/@benz20003/%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B3-beacon-%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87-line-beacon-%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2-esp32-4fc801315409)

The Assessment form gives weird result.

I have filled out the following information (attached to the footer of this issue) but I got Low-Risk Level.
(Should it be High-Risk level or higher level than Low-Risk?)
So how can we trust with evaluation? I hope the developer team re-examines the calculations about this assessment.

The answers I have filled for the assessment form

the symptom(s) section

  • Coughing
  • Sore Throat
  • Tiredness or Shortness of Breath
  • Vomit

Did you go oversea in the past 14 days? section

  • Went Oversea

Did you get near person who had COVID-19 risk in the past 14 days? section

  • More than 5 people around you are having fever.
  • There is a person living with you who just came back from abroad.
  • You are in closed contact with confirmed COVID-19 case (closer than 1 metre longer than 5 min)

Do you have an occupation that need to be closed to Foreigner(s) frequently? section

  • Yes

My result: Low-Risk Level

เพิ่มคำอธิบาย สี/ระดับ หลังตอบคำถามประเมิน

สรุปสาระเอาจากโพสต์นี้ก็ได้ครับ เรื่องทำไมจึงไม่มีสีส้ม-สีแดง
https://www.facebook.com/kittichai/posts/10222334232478019

ถ้ามีให้อ่านในตัวแอปไปเลย หลังได้ผลประเมิน สั้นๆ ก็ได้ ก็น่าจะคลายความสงสัยไปได้ครับ

related to issue #40

Github workflow doesn't get triggered on Pull request

Previous Github Workflow will run on a pull request and every push, but recently it doesn't get triggered on a pull request anymore.

Note. Don't worry if you see the lint failed, since the code is not yet well-formatted.

Offline Handler for MainApp

Offline Handler มี 3 stage ที่ต้อง handle ครับ

  1. stage ยังไม่มีข้อมูล QR เลย, ข้อมูลในหน้านี้นอกจากรูปจะเป็น null หมด
  2. outdated - QR เก่ากว่า 10 นาที แต่ไม่เกิน 3 ชม. ต้องแจ้งเตือนเป็น text เหลืองๆ สั้นๆ ใต้เวลาจะเห็นชัดกว่า ให้คน scan พิจารณาเอาว่ารับได้ไหม
  3. expired - QR เก่าเกิน 3 ชม. ต้องไม่สามารถใช้ QR ได้เลย ควรเป็นข้อความสีแดง แปะทับ QR ที่ dim ลงไป
    ตัวเลข 10 นาที กับ 3 ชม. อาจจะปรับได้ภายหลัง

Recommend Projects

  • React photo React

    A declarative, efficient, and flexible JavaScript library for building user interfaces.

  • Vue.js photo Vue.js

    🖖 Vue.js is a progressive, incrementally-adoptable JavaScript framework for building UI on the web.

  • Typescript photo Typescript

    TypeScript is a superset of JavaScript that compiles to clean JavaScript output.

  • TensorFlow photo TensorFlow

    An Open Source Machine Learning Framework for Everyone

  • Django photo Django

    The Web framework for perfectionists with deadlines.

  • D3 photo D3

    Bring data to life with SVG, Canvas and HTML. 📊📈🎉

Recommend Topics

  • javascript

    JavaScript (JS) is a lightweight interpreted programming language with first-class functions.

  • web

    Some thing interesting about web. New door for the world.

  • server

    A server is a program made to process requests and deliver data to clients.

  • Machine learning

    Machine learning is a way of modeling and interpreting data that allows a piece of software to respond intelligently.

  • Game

    Some thing interesting about game, make everyone happy.

Recommend Org

  • Facebook photo Facebook

    We are working to build community through open source technology. NB: members must have two-factor auth.

  • Microsoft photo Microsoft

    Open source projects and samples from Microsoft.

  • Google photo Google

    Google ❤️ Open Source for everyone.

  • D3 photo D3

    Data-Driven Documents codes.